วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

หน่วยที่ 5 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์    

ระบบ Network และ Internet  

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
การทำงานของระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เครือข่ายเฉพาะที่ ( Local Area Network : LAN ) เป็นเครือข่ายที่มักพบในองค์กรโดนส่วนใหญ่ ลักษณะการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือ หน่วยงานเดียวกัน
2. เครือข่ายการเมือง ( Metropolitan Area Network : MAN ) เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อยมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบรเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่นในเมืองเดียวกันเป็นต้น
3. เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area Network : WAN ) เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับโดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้ จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่น อินเตอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครื่อข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย Network Topology การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลักการไหลเวียนข้มูลในเครือข่ายด้วย โดย แบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ
1. แบบดาว ( Star Network ) เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อรวมกันเป็นหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดดต่อผ่สนทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกัยศูนย์กลาง
ลักษณะการทำงาน เป็นการเชื่อมโยงสื่อสารคล้ายดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อ กันทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด และยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารจัดเป็น 2 ทิศทางโดยจะอณุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม้มีโอกาศที่หลายๆ โหนดจะส่งข้อมูลเข่าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกันการชนกันของสัณญาณข้อมูล เครือข่ายแบบบดาว เป็นรูปแบบเครือข่ายหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันในปัจจุบั
2.  แบบวงแหวน ( Ring Network ) เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายสัญญารของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยง ของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครือข่านสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่มนการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเอง หรือจากเครือข่ายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
3.เครือข่ายแบบบัส ( Bus Network ) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่ยๆๆ โดยจะมีอุปกรณืที่เป็นตัวเชื่อมต่ออุปกรณืเข้ากับสายเคเบิล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้ จะต้องกำหนดวิธี ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกันลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถ฿กเชื่อมต่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียว
อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียก ว่า บัศ BUS เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนดหนึ่ง ภายในเครือข่าย จะต้องตรวจสอบว่าบัสง่างหรืไม่ ข้อมูลจะวิ่งผ่านโหนดไปเรื่อยๆๆ ในขณะที่แต่ละโหนดก็จะตรวจสอบว่าเป็นว่าเป็นของตนเองหรืไม่หากไม่ใช่ก็จะปล่อยให้วิ่งไปเรื่อยๆๆ
4.เครือข่ายแบบต้นไม้ ( Tree Network ) เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆ ได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
การประยุกต์ใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครือข่าย รูปแบบการใช้งาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง ( Centrallised Network )
2.ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee)
3. ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง ( Centrallised Network ) เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลาง และมีการรรเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิ้ล เชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินนอลสมารถสเข้าใช้งานโดยคำสั่งต่าง มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครืองคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee ) แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่ายสถานีเจะเท่าเทียมกัน สามรถที่จะแบ่งบันทรัพยากรให้แก้กันและกันได้ เช้นการใช้เครื่องพิมพ์ หรือ แฟ้มข้อมูลร้วมกันในเครือข่ายนั้นๆ เครื่องแต่ละเคื่องมีขีด และความสารถได้ด้วยตนเอง คือจะมีทรัพยากรภายในตัเอง เช่น ดิสก์สำหลับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ 
 ระบบเครือข่ายแบบ ( Client/Server ) สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามรถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำง่นโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Client/Server ราคาไม่แพงมากนัก ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สมถนะสูงในการควบคุมการให้บริการ ทรัพยากรต่างๆ นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามรถในการประมงลผล และมีพื้นที่สำหลับเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตัวเอง
           ระบบเครื่อข่ายแบบClient/Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่น สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่องได้ตามต้องการ
2.ตัวแปลภาษา
-ระบบปฏิบัติการ หรือเรียกย่อๆว่าOS เป็นซอฟแวร์ใช้ในการดูระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะมีซอฟแวร์ระบบจะต้องมีระบบปฏิบัติการนี้  ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีคือ ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
-ดอส เป็นซอฟแวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร             -วินโดว์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอสโดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มาขึ้นแทนการใช้แป้นอักขระ
-ยูนิกส์ เป็นระบบปฏิบัติการมาตั้งแต่ใช้กับเครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด
-ลีนุกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกส์มีระบบที่มีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัมนาช่วยกันพัฒนา ระบบลีนุกซ์สามารถทำงานได้บน ซีพียู หลายตระกูล      เช่น อินเทล ดิจิตอลและ ซันสปาร์ค
-แมคอินทอช เป้นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ส่วนมากใช้ในงานกราฟิก                                    ออกแบบและจัดตำแหน่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
ชนิดของระบบปฏิบัติการสามารถจำแนกออกได้  3 ชนิดคือ
1.ประเภทใช้งานเดี่ยว (Sing-tasking) จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้นใช้ในเครื่องขนาดเล็ก
2.ประเภทใช้หลายงาน (Multi- tasking) สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันได้ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟแวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่นระบบปฏิบัติการ Windows 9 8 ขึ้นไป  และ UNIX  เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน (Multi-user) ในหน่วยงานบางแห่งใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้มีขณะใดขณะหนึ่งมีการใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายเครื่องจึงจำเป็นต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เช่นระบบปฏิบัติการ Windows NT และ       UNIX เป็นต้น         
2.ตัวแปรภาษา
การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องซึ่งภาษาระดับสูงได้แก่ ภาษาBasic Pascal, และภาษาโลโก้ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากมายได้แก่ Fortran, Cobol, และภาษาอาร์พีจี
ซอฟแวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟแวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพหรือการออกแบบเว็บไซด์เป็นต้น
ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น2 ประเภทคือ
 1.ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ (Proprietary Software)
2.ซอฟแวร์ที่หาได้ทั่วไป (Packaged Software) มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ (Customized Package) และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการใช้งาน จำแนกได้เป็น3 ประเภทคือ
1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (Business)
2.กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (Graphic multimedia)
3.การใช้งานแบบเว็บและการติดต่อสื่อสาร (Web and communications)
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (Business)
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงาน เอกสาร ดังเช่น โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Staroffice Writer , โปรแกรมตำราคำนวณ อาทิ Microsoft Excel, Sun  Staroffice Cals , โปรแกรมนำเสนองานอาทิ Microsoft Powrepoint, Sun  Staroffice Impress.
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (Graphic multimedia)
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดียเพื่อช่วยให้งานง่ายขึ้น เช่นใช้ตกแต่งวาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหวและการออกแบบเว็บไซด์ เช่น
-โปรแกรมออกแบบ อาทิ  Microsoft Visio Professional.
-โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ Coreidraw, Adobe Photoshop
-โปรแกรมตัดต่อวีดีโอและเสียง อาทิ Adobe Premirer, Pinnacle, Studio Dv.
-โปรแกรมการสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware, Toolbook ,  Instructor
การใช้งานแบบเว็บและการติดต่อสื่อสาร (Web and communications)
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟแวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซด์ การจัดการดูแลเว็บ ตัวอย่างโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรมจัดการอีเมล์ อาทิ Microsoft Outlook , Mozzila icdi,Thunderbird  โปรแกรมท่องเว็บ เช่น Microsoft Internet  Explorer, Mozzila  Firefox  โปรแกรมประชุมทางไกล (Video Conference) อาทิ  Microsoft Netmeeting โปรแกรมการส่งข้อความด่วน (MSN Messenger/Windows Messenger, ICQ โปรแกรมการสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ  PIRCH, MIRC
ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำไดยากจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษานี้เรียกว่าความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์และวิทาศาสตร์บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางการจัดการข้อมูล
ซอฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้องจำเป็นต้อมีสื่อกลางถ้าเปรียบกับชีวิตประจำวันแล้วเรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกันเช่นเดียวกันกับถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุกต์ประกอบด้วย
-ภาษาเครื่อง (Machine languages) เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงาด้วยสัญญาณไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข0และ1ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข0และ1นั้นมีรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
-ภาษาแอสเซมบลี (Assembler languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุกต์ที่2 ถัดจากภาษาเครื่องภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็มีความใกล้เคียงภาษาเครื่องมากและจำเป็นต้องใช้ตัวแปรภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler) เพื่อแปรชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
-ภาษาระดับสูง(High Level Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุกต์ที่3เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่าStatementsที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้นผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้นเนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ด้วยตัวแปรระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่2ชนิดคือ คอมไพเลอร์(Compiler) และอินเทอร์พลีเตอร์ (Interpreter)
คอมไพเลอร์(Compiler) จะทำการแปรโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) จะทำการแปรทีละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้นเมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปรคำสั่งลำดับต่อไปข้อแตกต่างระหว่าง คอมไพเลอร์กับ อินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ที่การแปรโปรแกรมหรือแปรทีละคำสั่ง