คอมพิวเตอร์เเละระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง หรือโปรเเกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายเเบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือ มีศักยภาพสูงในการประมวล ข้อมูลทั้งตัวเลข รูปภาพ ตัวอักษรเเละเสียง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดเเวร์
คือ ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่อง com เเบ่งเป็น 5 ส่วน
1) หน่วยรับข้อมูลเข้า(Input Unit) เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าระบบเพื่อกำหนดให้คอมทำงานตามความต้องการได้เเก่
-เเป้นพิมพ์(Keybord)
-เเผ่นซีดี(CD-Rom)
-ไมโครโฟน(Microphone)เป็นต้น
2)หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) CPU
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะเเละคณิตศาสตร์ รวมทั้งการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
เชิงตรรกะ=เหตุผล/คณิตศาสตร์=ตัวเลข
3)หน่วยความจำ (Memmory Unit)
ทำหน้าที่ เก็บข้อมูล/คำสั่งที่มาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางเเละเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเเล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยเเสดงผล
4)หน่วยเเสดงผล(Output Unit)
ทำหน้าที่ เเสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ประมวลผลหรือผ่านการคำนวณเเล้ว
5)อุปการณ์ต่อพ่วงอื่นๆ(Peripheral Equiment)
เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอม เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น
-โมเด็ม(modem)-แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
ประโยชน์ของ คอมพิเตอร์
1)มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที จึงใช้ในงานคำนวณต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
2)มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำได้ตลอด24ชั่วโมงเเทนกำลังคนได้มาก
3)เก้บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร เช่นเก็บในเเผ่นCD/เเฟรชไดรฟ์
5)สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบได้รวดเร้วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
ระบบคอมพิวเตอร์
คือกรรมวิธีที่คอมทำการใดๆกับข้อมุลให้อยู่ในรูปเเบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานมากที่สุดเช่นระบบเสียภาษี ระบบลงทะเบียนราษฎ์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวชระเบียนของโรงพยาบาล เป็นต้น
การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ คอมเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่ถูกต้อง
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิเตอร์ที่คอมทำงานอย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วย4ส่วนดังนี้
1)ฮาร์ดเเวร์(Hardware)หรือส่วนเครื่อง
2)ซอฟต์เเวร์(Software)หือส่วนของชุดคำสั่ง
3)ข้อมูล
4)บุคคลากร
1)ฮาร์ดเเวร์ คือตัวเครื่อง/อุปกรณ์มี4 ประเภทดังนี้
(1.1) ส่วนประมวลผล(Processer)
(1.2)ส่วนความจำ(Memmory)
(1.3)อุปกรณ์รับเข้าเเละส่งออก(Input-Output Devices)
(1.4)หน่วยเก็บข้อมูล(Storage Devices) แผ่นดิสก์ต่างๆ
(1.1) CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดเเวร์ที่เปรียบเสมือนสมองมีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมประมวลผลเเละเปรียบเทียบข้อมูลดดยทำการเปลี่ยนเเปลงข้อมุลเดิมให้เป็นสารสนเทศที่คอมนำไปใช้ประโยชน์ได้ความเร้วของCPU เรียกว่าสัญญาณ นาฬิกา เป็น V 1ล้านรอบใน1S เทียบเท่าVสัญญาณนาฬิกา 1 GHz
1.2)ส่วนความจำ เเบ่งออก 3ประเภท
-หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
-หน่วยความจำสำรอง(Secondary Storage)
-หน่วยเก็บความจำ
หน่วยความจำหลัก เเบ่งออก 3 ประเภทได้เเก่ เเรม RAM/รอม ROM
1.1) เเรม(Ram =Random Acess Memory)เป็น หน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระเเสไฟฟ้ารับส่งข้อมูล
ข้อมูล/แฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ซึ่งคราวขณะทำงานข้อมุลจะอยู่ได้นานกว่าคราวจะปิดเครื่อง เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบบลบเลือนได้ (Volatite Memmory)
1.2)รอม(Rom=Read Only Memmoly)เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรเเกรม/ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมข้อมูลที่ถาวรไม่ขึันอยู่กับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร คอมให้CPU อ่านข้อมุล / โปรเเกรมไปใช้งานอย่างเดียวไม่คอมเรียกข้อมูลไปเก็บไว้ได้โดยง่ายส่วนใหญ่ใช้กับโปรเเกรมควบคุม เราเียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่าหน่วยความจำเเบบไม่ลบเลือน(Nonvolatile Memmory)
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำหรับสำรองหรือทำงานกับข้อมุลและโปรเเกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำหลักมีจำกัด หน่วยความจำสำรองคอมเก็บไว้ได้หลายเเบบ เช่นแผ่นบันทึก จานบันทึกเเบบเเข็ง แผ่นซีดีรอม
คอมพิเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง หรือโปรเเกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายเเบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือ มีศักยภาพสูงในการประมวล ข้อมูลทั้งตัวเลข รูปภาพ ตัวอักษรเเละเสียง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดเเวร์
คือ ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่อง com เเบ่งเป็น 5 ส่วน
1) หน่วยรับข้อมูลเข้า(Input Unit) เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าระบบเพื่อกำหนดให้คอมทำงานตามความต้องการได้เเก่
-เเป้นพิมพ์(Keybord)
-เเผ่นซีดี(CD-Rom)
-ไมโครโฟน(Microphone)เป็นต้น
2)หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) CPU
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะเเละคณิตศาสตร์ รวมทั้งการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
เชิงตรรกะ=เหตุผล/คณิตศาสตร์=ตัวเลข
3)หน่วยความจำ (Memmory Unit)
ทำหน้าที่ เก็บข้อมูล/คำสั่งที่มาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางเเละเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเเล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยเเสดงผล
4)หน่วยเเสดงผล(Output Unit)
ทำหน้าที่ เเสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ประมวลผลหรือผ่านการคำนวณเเล้ว
5)อุปการณ์ต่อพ่วงอื่นๆ(Peripheral Equiment)
เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอม เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น
-โมเด็ม(modem)-แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
ประโยชน์ของ คอมพิเตอร์
1)มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที จึงใช้ในงานคำนวณต่างๆได้อย่างรวดเร็ว
2)มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำได้ตลอด24ชั่วโมงเเทนกำลังคนได้มาก
3)เก้บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร เช่นเก็บในเเผ่นCD/เเฟรชไดรฟ์
5)สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบได้รวดเร้วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
ระบบคอมพิวเตอร์
คือกรรมวิธีที่คอมทำการใดๆกับข้อมุลให้อยู่ในรูปเเบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานมากที่สุดเช่นระบบเสียภาษี ระบบลงทะเบียนราษฎ์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวชระเบียนของโรงพยาบาล เป็นต้น
การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ คอมเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่ถูกต้อง
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิเตอร์ที่คอมทำงานอย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วย4ส่วนดังนี้
1)ฮาร์ดเเวร์(Hardware)หรือส่วนเครื่อง
2)ซอฟต์เเวร์(Software)หือส่วนของชุดคำสั่ง
3)ข้อมูล
4)บุคคลากร
1)ฮาร์ดเเวร์ คือตัวเครื่อง/อุปกรณ์มี4 ประเภทดังนี้
(1.1) ส่วนประมวลผล(Processer)
(1.2)ส่วนความจำ(Memmory)
(1.3)อุปกรณ์รับเข้าเเละส่งออก(Input-Output Devices)
(1.4)หน่วยเก็บข้อมูล(Storage Devices) แผ่นดิสก์ต่างๆ
(1.1) CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดเเวร์ที่เปรียบเสมือนสมองมีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมประมวลผลเเละเปรียบเทียบข้อมูลดดยทำการเปลี่ยนเเปลงข้อมุลเดิมให้เป็นสารสนเทศที่คอมนำไปใช้ประโยชน์ได้ความเร้วของCPU เรียกว่าสัญญาณ นาฬิกา เป็น V 1ล้านรอบใน1S เทียบเท่าVสัญญาณนาฬิกา 1 GHz
1.2)ส่วนความจำ เเบ่งออก 3ประเภท
-หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
-หน่วยความจำสำรอง(Secondary Storage)
-หน่วยเก็บความจำ
หน่วยความจำหลัก เเบ่งออก 3 ประเภทได้เเก่ เเรม RAM/รอม ROM
1.1) เเรม(Ram =Random Acess Memory)เป็น หน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระเเสไฟฟ้ารับส่งข้อมูล
ข้อมูล/แฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ซึ่งคราวขณะทำงานข้อมุลจะอยู่ได้นานกว่าคราวจะปิดเครื่อง เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบบลบเลือนได้ (Volatite Memmory)
1.2)รอม(Rom=Read Only Memmoly)เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรเเกรม/ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมข้อมูลที่ถาวรไม่ขึันอยู่กับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร คอมให้CPU อ่านข้อมุล / โปรเเกรมไปใช้งานอย่างเดียวไม่คอมเรียกข้อมูลไปเก็บไว้ได้โดยง่ายส่วนใหญ่ใช้กับโปรเเกรมควบคุม เราเียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่าหน่วยความจำเเบบไม่ลบเลือน(Nonvolatile Memmory)
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำหรับสำรองหรือทำงานกับข้อมุลและโปรเเกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำหลักมีจำกัด หน่วยความจำสำรองคอมเก็บไว้ได้หลายเเบบ เช่นแผ่นบันทึก จานบันทึกเเบบเเข็ง แผ่นซีดีรอม
หน่วยที่ 5 โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
การทำงานของระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เครือข่ายเฉพาะที่ ( Local Area Network : LAN ) เป็นเครือข่ายที่มักพบในองค์กรโดนส่วนใหญ่ ลักษณะการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือ หน่วยงานเดียวกัน
2. เครือข่ายการเมือง ( Metropolitan Area Network : MAN ) เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อยมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบรเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่นในเมืองเดียวกันเป็นต้น
3. เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area Network : WAN ) เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับโดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้ จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่น อินเตอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครื่อข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย Network Topology การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลักการไหลเวียนข้มูลในเครือข่ายด้วย โดย แบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ
1. แบบดาว ( Star Network ) เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อรวมกันเป็นหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดดต่อผ่สนทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกัยศูนย์กลาง
1. แบบดาว ( Star Network ) เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อรวมกันเป็นหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดดต่อผ่สนทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกัยศูนย์กลาง
ลักษณะการทำงาน เป็นการเชื่อมโยงสื่อสารคล้ายดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อ กันทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด และยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารจัดเป็น 2 ทิศทางโดยจะอณุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม้มีโอกาศที่หลายๆ โหนดจะส่งข้อมูลเข่าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกันการชนกันของสัณญาณข้อมูล เครือข่ายแบบบดาว เป็นรูปแบบเครือข่ายหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันในปัจจุบั
2. แบบวงแหวน ( Ring Network ) เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายสัญญารของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยง ของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครือข่านสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่มนการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเอง หรือจากเครือข่ายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
3.เครือข่ายแบบบัส ( Bus Network ) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่ยๆๆ โดยจะมีอุปกรณืที่เป็นตัวเชื่อมต่ออุปกรณืเข้ากับสายเคเบิล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้ จะต้องกำหนดวิธี ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกันลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถ฿กเชื่อมต่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียว
อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียก ว่า บัศ BUS เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนดหนึ่ง ภายในเครือข่าย จะต้องตรวจสอบว่าบัสง่างหรืไม่ ข้อมูลจะวิ่งผ่านโหนดไปเรื่อยๆๆ ในขณะที่แต่ละโหนดก็จะตรวจสอบว่าเป็นว่าเป็นของตนเองหรืไม่หากไม่ใช่ก็จะปล่อยให้วิ่งไปเรื่อยๆๆ
อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียก ว่า บัศ BUS เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนดหนึ่ง ภายในเครือข่าย จะต้องตรวจสอบว่าบัสง่างหรืไม่ ข้อมูลจะวิ่งผ่านโหนดไปเรื่อยๆๆ ในขณะที่แต่ละโหนดก็จะตรวจสอบว่าเป็นว่าเป็นของตนเองหรืไม่หากไม่ใช่ก็จะปล่อยให้วิ่งไปเรื่อยๆๆ
4.เครือข่ายแบบต้นไม้ ( Tree Network ) เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆ ได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
การประยุกต์ใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครือข่าย รูปแบบการใช้งาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง ( Centrallised Network )
2.ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee)
3. ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครือข่าย รูปแบบการใช้งาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง ( Centrallised Network )
2.ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee)
3. ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง ( Centrallised Network ) เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลาง และมีการรรเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิ้ล เชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินนอลสมารถสเข้าใช้งานโดยคำสั่งต่าง มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครืองคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee ) แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่ายสถานีเจะเท่าเทียมกัน สามรถที่จะแบ่งบันทรัพยากรให้แก้กันและกันได้ เช้นการใช้เครื่องพิมพ์ หรือ แฟ้มข้อมูลร้วมกันในเครือข่ายนั้นๆ เครื่องแต่ละเคื่องมีขีด และความสารถได้ด้วยตนเอง คือจะมีทรัพยากรภายในตัเอง เช่น ดิสก์สำหลับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ
ระบบเครือข่ายแบบ ( Pee-to Pee ) แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่ายสถานีเจะเท่าเทียมกัน สามรถที่จะแบ่งบันทรัพยากรให้แก้กันและกันได้ เช้นการใช้เครื่องพิมพ์ หรือ แฟ้มข้อมูลร้วมกันในเครือข่ายนั้นๆ เครื่องแต่ละเคื่องมีขีด และความสารถได้ด้วยตนเอง คือจะมีทรัพยากรภายในตัเอง เช่น ดิสก์สำหลับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ
ระบบเครือข่ายแบบ ( Client/Server ) สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามรถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำง่นโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Client/Server ราคาไม่แพงมากนัก ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สมถนะสูงในการควบคุมการให้บริการ ทรัพยากรต่างๆ นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามรถในการประมงลผล และมีพื้นที่สำหลับเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตัวเอง
ระบบเครื่อข่ายแบบClient/Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่น สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่องได้ตามต้องการ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น